Lanna Tattoo เอกลักษณ์สักขาลาย รอยสักล้านนาที่กำลังจะเลือนหายไป

Lanna Tattoo เอกลักษณ์สักขาลาย

Lanna Tattoo เอกลักษณ์ของแต่ละคน หรือแต่ละกลุ่มคน สามารถถ่ายทอดออกมาผ่านหลายสิ่ง ไม่ว่าจะเป็น การแต่งกาย การพูดจา หรือแม้กระทั่ง รอยสัก

Lanna Tattoo เอกลักษณ์สักขาลาย

เอกลักษณ์ของแต่ละคนหรือแต่ละกลุ่มคนสามารถถ่ายทอดออกมาผ่านหลายสิ่งไม่ว่าจะเป็นการแต่งกายการพูดจาหรือแม้กระทั่งรอยสักวันนี้เราจะพาทุกท่านไปรู้จักกับรอยสักอันทรงคุณค่าของชาวล้านนา ไปรับชมรับฟังกันเลยครับที่เว็บ promlao

รอยสักล้านนาที่กำลังจะเลือนหายไป

เอกลักษณ์ของแต่ละคนหรือแต่ละกลุ่มคนสามารถถ่ายทอดออกมาผ่านหลายสิ่งไม่ว่าจะเป็นการแต่งกายการพูดจาหรือแม้กระทั่งรอยสักวันนี้เราจะพาทุกท่านไปรู้จักกับรอยสักอันทรงคุณค่าของชาวล้านนาประกาศเคยยอมวัฒนธรรมสักลายขาแบบล้านนาเต่วก้อมหรือบางครั้งก็เรียกตามขอบเขตการสักได้หลายแบบไม่ว่าจะเป็นลาวพุงดำลาวพุงขาวหรือขาก้อม เป็นวัฒนธรรมการสักของชนเผ่าปกาเกอะญอ

ซึ่งปัจจุบันอาศัยอยู่ที่หมู่บ้านตะพิโจจังหวัดตาก โดยเป็นรอยสักที่ใช้ดีของสัตว์มาเป็นน้ำหมึกพวกเขาสักตั้งแต่หัวเข่าทั้งสองข้างขึ้นไปจนถึงพรุ่งดูแล้วเหมือนกับใส่กางเกงอยู่และนี่ก็น่าจะเป็นที่มาของชื่อลาวพุงดำ และไม่ได้มีแค่ลาวพุงดำอย่างเดียวยังมีลาวพุงขาวอีกด้วย

โดยลาวพุงขาวจะไม่สักจนถึงพุงนอกจากลาวพุงขาวและลาวพุงดำยังมีการสักแบบลายขาก้อมโดยจะสักเหมือนเป็นกางเกงขาสั้นมากกว่าขึ้นไปถึงบริเวณสะดือพวกเขานิยมสักลายสัตว์ที่อยู่ในป่าหิมพานต์เป็นส่วนใหญ่ โดยจุดประสงค์ของการสักขาลายเพื่อแสดงออกถึงความเป็นผู้ใหญ่ความอดทนต่อความเจ็บปวดและเป็นการแสดงความกตัญญูต่อพ่อแม่และเรามักจะเห็นรอยสักขาแบบนี้ไหนผู้ชายเท่านั้น

การสักขาหร่ายเป็นวัฒนธรรมที่สำคัญมากของชาวปกากะญออย่างในภาพของชาวต่างชาติที่วาดภาพรอยสักลาวพุงดำของคนในสมัยรัชกาลที่ 5 เอาไว้ รวมถึงจารึกที่บอกไว้ว่าเวลาผู้หญิงชาวล้านนาจะหาคู่ให้ดูจากรอยสักที่ขาเพราะชายที่สักขาลายจะเป็นชายที่มีคุณสมบัติเหมาะแก่การเลือกเป็นคู่ชีวิต การสักลายขานั้นไม่ใช่แค่ไหนผู้ใหญ่เขานิยมสักกันตั้งแต่เด็กอายุประมาณ 12 ปีขึ้นไป

ก็เริ่มสักกันแล้วถือว่าเป็นเรื่องปกติของคนที่นี่เลย โดยก่อนสักจะต้องทำพิธีขึ้นผ่านหรือพิธีไหว้ครูก่อนซึ่งจะต้องจัดเตรียมวัตถุดิบคือน้ำเหล้าพริกหลูยาเส้นลูกหมากขาวหรือขนมส่วนวิธีการสักจะต้องดึงผิวหนังให้ตึงก่อนสักและจะสักขาซ้ายก่อนเป็นธรรมเนียม หลาย 10 ปีผ่านมาไม่ได้มีใครสืบทอดการสักแบบนี้เพราะหันไปสักแบบสมัยใหม่ที่เจ็บน้อยกว่าใช้เวลาน้อยกว่าและลวดลายทันสมัยกว่า

เมื่อก่อนคนที่สักลายขาแบบนี้ได้หรือเพียงแค่คนในเผ่าปกาเกอะญอนั่นคือ อาจารย์ละดา ศรีอุเบท เท่านั้น จนกระทั่งคุณศราวุธแววงามช่างสักชาวเชียงใหม่เดินทางไปเรียนรู้การสักขาลายแบบอาจารย์ละดาเพราเขาบังเอิญเห็นรอยสักที่ขาของพระสงฆ์รูปหนึ่งซึ่งมาซื้อหมึกสักที่ร้านของเขาจึงเกิดความประทับใจเพราะปกติจะเห็นแต่ในรูปไม่คิดว่าจะยังมีคนสั่งแบบนี้อยู่

Lanna Tattoo นอกจากการสักขาลายแล้วชาวปกากะญอบางคนก็จะสักลายกรรไกรเพิ่มเข้าไปที่บริเวณน่องด้วยความเชื่อที่ว่าถ้าสักลายกรรไกรจะได้กลับมาเกิดเป็นชาวปกาเกอะญออีกในชาติหน้า

ใส่ความเห็น