บทความน่ารู้ หากเรานำมุมมองและแนวคิดที่ใช้จำลองสัตว์ดึกดำบรรพ์ มาใช้กับสัตว์ในปัจจุบัน จะได้สัตว์ที่มีหน้าตาอย่างไรกันแน่ เราลองมาศึกษาจากบทความนี้กัน
บทความน่ารู้ ในอนาคตจะตีความสัตว์ในปัจจุบันว่าอะไร
เคยสงสัยกันไหมว่า แนวคิดและวิธีการต่างๆที่ถูกใช้ เพื่อจำลองหน้าตาของสัตว์ที่สูญพันธุ์ไปแล้วหลายล้านปีนั้น สามารถบอกหน้าตาที่แท้จริงของมันได้ดีแค่ไหน นี่เป็น Concept หลักในหนังสือ orkide ซึ่งเราได้พูดถึงไปบ้างแล้ว ในคลิปของสไปโนซอรัส
ภายในหนังสือ มีหัวข้อน่าสนใจที่ชื่อว่าออเดอร์มีการตั้งคำถามที่ว่า หากเราใช้มุมมองและแนวคิดเดียวกัน ที่ใช้จำลองสัตว์ดึกดำบรรพ์ต่างๆ นำมาใช้กับสัตว์ที่เราเห็นกันจนชินตาอยู่ในปัจจุบัน จะได้สัตว์ที่มีหน้าตาอย่างไรกันแน่
ลองจินตนาการว่าคุณคือมนุษย์ในอนาคตหลายล้านปีข้างหน้า และนี่คือซากฟอสซิลที่ถูกค้นพบ ต้นจำลองหน้าตาตอนที่มันยังมีชีวิต คุณจะวาดมันออกมาเป็นยังไง กะโหลกของสัตว์ที่เรารู้จักกันดี อย่างฮิปโปโปเตมัส หนึ่งในสัตว์กินพืช มีขนาดใหญ่ที่สุดในปัจจุบัน
แม้หน้าตาฮิปโปจะไม่ได้น่ากลัวเท่าภาพที่วาดจากหัวกระโหลกของมัน แต่มันก็เป็นสัตว์ที่โหดใช่ย่อย เพราะมันมีแรงกัดมหาศาล และเป็นหนึ่งในสถานที่ทำร้ายและสังขารมนุษย์เฉลี่ยต่อปีมากเป็นอันดับต้นๆของโลก
เพียงแค่หน้าตาระหว่างภาพวาดกับของจริง ดูจะแตกต่างกันไปคนละเรื่อง แต่เห็นว่าการต้องจำลองหน้าตาของสัตว์จากเพียงโครงกระดูกที่หลงเหลืออยู่ ไม่ใช่เรื่องง่ายเลย มีข้อจำกัดมากมาย ที่จะทำการจินตนาการถึงสมัยอดีต ถูกจำกัดทำให้หน้าตาของพวกมัน
แตกต่างไปจากความเป็นจริง ซึ่งใน allday แบ่งมันออกเป็น 4 ข้อ สัดส่วนร่างกายเมื่อพบเจอโครงกระดูก สิ่งที่นักบรรพชีวินวิทยาต้องทำ คือการเรียนรู้ต่อซากโครงกระดูกเข้าด้วยกันอย่างระมัดระวัง เมื่อต้องจำลองผิวหนัง และกล้ามเนื้อเข้าไปที่โครงกระดูกเหล่านั้น
พวกเขามักจะเน้นโครงสร้างต่างๆ อย่างชัดเจนเพื่อแสดงความแตกต่างของสัตว์แต่ละชนิดด้วยหน้าตาของฟอสซิลที่ถูกพบ ตัวอย่างต่อไปนี้คือภาพวาดพร้อมกับคำอธิบายของนักบรรพชีวินวิทยา ไม่ระบุชื่อ ที่ค้นพบซากฟอสซิลของพวกมันในอนาคตหลายล้านปีข้างหน้า
นี่คือหน้าตาของนักล่าที่ดุร้ายมันมีกรงเล็บแหลมไม่ใช่แค่ 1 แต่ถึง 5 เล็บ ในเท้าหน้าแต่ละข้าง ซากของพวกมันมักถูกพบในแหล่งอาศัยของสิ่งมีชีวิต ที่เรียกว่ามนุษย์ ซึ่งน่าจะเป็นเหยื่ออันโอชะของนักล่าเหล่านี้ ที่มีชื่อว่า แมว เป็นสัตว์ขนาดเล็กและน่าจะเป็นสปีชีส์ใกล้เคียงกับมนุษย์ พวกมันคือนักล่า รถเบนซ์ที่มีประสิทธิภาพ โดยมันจะมีตาที่โตต่างจากสายพันธุ์อื่นๆ พร้อมกับนิ้วมือ และนิ้วเท้าที่ยาวมาก
สัตว์ที่ดูราวกับหลุดมาจากฝันร้ายของหลายๆคนนี้ก็คือ Spider Monkey ลิงแมงมุม ที่มองไม่เห็นปัญหาตามมา ของการวาดภาพสัตว์ดึกดำบรรพ์คือการต้องต่อเติมส่วนที่ไม่ได้หลงเหลือหลักฐานเอาไว้ หากในซากต่างๆไม่มีเส้นขน หรือขนหลงเหลืออยู่
ก็ยากที่จะจินตนาการได้ว่า พวกมันมีส่วนที่ปกคลุมบนผิวหนังเป็นแบบไหนหากยึดตามทฤษฎีนี้ ก็เป็นไปได้ที่ภาพของนกจะแตกต่างไปจากที่เรารู้จัก แม้จะสามารถคาดเดาถึงลักษณะปีกของนกได้ แต่ก็เป็นไปได้สูงว่าผู้ที่ค้นพบพวกมัน น่าจะวาดมันออกมาอย่างเรียบง่ายที่สุด
โดยการเติมเนื้อเยื่อผิวหนังลงไปให้กับพวกมัน เท่านั้นตัวอย่างเช่น แร้ง ที่มีปีกและช่วงท้องขนาดใหญ่ หรือ หงส์ สัตว์ตระกูลนก ที่มีระยะหางยาว รูปร่างแบบเคี้ยวทำให้พอจะคาดเดาได้ว่ามันใช้อวัยวะนี้เป็นอาวุธสำหรับการล่าเหยื่อ
หรือบางทีนักบรรพชีวินวิทยาก็เติมแต่ง เส้นขนลงไปโดยยึดกับความเกี่ยวข้อง หรือความเป็นไปได้ทางอื่นที่ใกล้เคียงกัน เช่นมีการค้นพบหลักฐานลงเหลือของเส้นขนบนสัตว์ขนาดเล็ก ที่มีอยู่ทั่วโลกอย่างหนู
จึงเป็นไปได้ว่าสัตว์มีกระดูกสันหลังขนาดเล็กนั้น จะมีขนปกคลุมร่างกาย เป็นเหตุให้ อีกัวน่าน่า จะมีขนยาวเหมือนกันด้วย นอกจากเส้นขนแล้วยังมีเรื่องของกล้ามเนื้อและเนื้อเยื่ออ่อนหรือ Soft tissue ย้อนไปในอดีตช่วงปี 2000
เคยมีการวิเคราะห์ที่ถกเถียงกันพอสมควร ของไดโนเสาร์ คอยาวจำพวกซอโรพอด พวกมันมีกระดูกส่วนคอที่เชื่อมต่อกันเป็นแนวยาวเมื่อนำโครงกระดูกเหล่านั้นมาจำลอง ผ่านโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ได้ข้อสรุปว่า การขยับคอของพวกมันจะค่อนข้างจำกัด
และมันจะมีขคอที่ยืดตรงออกไปด้านหน้านานๆ ก่อนที่จะมีคนสรุปด้วยเหตุผล เช่นการไม่ได้คำนึงถึงเนื้อเยื่ออ่อน ระหว่างข้อต่อ หรือโดยทั่วไปสัตว์บกมักจะมีการตั้งคอขึ้นสอดคล้องกับกระดูกสันหลัง ตัวอย่างที่ดีคือกระต่าย กระดูกบริเวณคอของมันมีหลายชิ้นต่อกันเป็นแนวยาว
หากใช้แนวคิดเดียวกันมันจะเป็นสัตว์ที่คอยาว วางเป็นแนวนอนตรงไปข้างหน้า และไม่สามารถขยับไปมาได้มากนัก ทำให้หน้าตาของมันจะดูแปลกตาไปมาก ส่วนประกอบที่ยากจะจินตนาการได้ มีน้อยมาก ที่อยู่ในสภาพที่สมบูรณ์ มันมักหลงเหลืออยู่เพียงบางส่วน
ดังนั้นเราจึงมาต่อเติมส่วนต่างๆลงไปด้วย การอ้างอิงจากสายพันธุ์ที่ใกล้เคียงกัน แต่ปัญหาก็คือลักษณะที่แตกต่างกัน อย่างชัดเจนของสัตว์ต่างๆ ส่วนมากมาจากเนื้อเยื่ออ่อน Soft tissue tissue คือเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อหลอดเลือดหลอด น้ำเหลือง เอ็น และเส้นประสาทต่างๆ อวัยวะเหล่านี้คาดเดาได้ยาก ว่ามันจะมีลักษณะเป็นอย่างไร
ดังนั้นการต้องเติมแต่งส่วนเหล่านี้เข้าไปต้องอาศัยความกล้า และการคิดนอกกรอบที่สูงมาก ด้วยข้อมูลที่จำกัด ลองคิดดูว่าเรานักบรรพชีวินวิทยาในอนาคต จะสามารถคาดเดามันได้ถูกแค่ไหน
พะยูนคือสัตว์ลึกลับขนาดใหญ่ ที่มีการค้นพบเพียงแค่ส่วนหัวกระโหลกของมันเท่านั้น แต่จากการเทียบเคียงกับสัตว์ในตระกูลใกล้เคียง ทำให้คาดเดาได้ว่ามันคือสัตว์ 4 ขา กินพืชในบริเวณหุบเขา
ช้างเป็นหนึ่งในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่ขนาดใหญ่ที่สุดของยุค นอกจากเขี้ยวแหลมยาวที่ด้านข้างของปากแล้ว ตรงกลางกะโหลกของมันมีช่องว่างขนาดใหญ่คาดว่ามันจะมีอวัยวะแบบลูกบอล ที่ถูกขยายได้ผ่านการกักเก็บลมในช่องนี้ ซึ่งก็ยังเถียงว่ามันคืออะไรกันแน่
เพราะไม่มีการค้นพบอวัยวะแบบนี้ในสัตว์ยุคปัจจุบัน การตั้งสมมติฐานที่แปลกและแหวกแนวมาตลอด โดยแนวคิดเหล่านี้ มักถูกสอดแทรกอยู่ในผลงานต่างๆอยู่เสมอ จะมีสัตว์ในปัจจุบันตัวไหนบ้าง ที่จะเป็นบ่อเกิดที่จะแปลก ในอนาคต
เช่นแนวคิดว่า ลิงบาบูน อาจจะมีพิษ ลิงขนาดใหญ่นี้เป็นสัตว์บกที่ว่องไว มันมีเขี้ยวแหลมและปากที่เรียวยาว นอกจากมันจะมีเขี้ยวขนาดใหญ่ ร่างของมันยังมีร่องลึกอยู่ด้านข้างด้วยจึงเป็นไปได้ว่า ต่อมใต้รูจมูกที่ซับซ้อนของมันเป็นระบบการสร้างพิษ
เป็นการมองในมุมกลับโดยนำเสนอในปัจจุบันมาเป็นโจทย์ที่สะท้อนให้เห็นถึงข้อจำกัดและแนวคิดที่ติดอยู่ในกรอบกันมากเกินไปอาจทำให้ผลลัพธ์ที่ได้แตกต่างจากความเป็นจริงได้มากแค่ไหนเนื้อหาเหล่านี้ถูกยกมาเพียงบางส่วนจากหนังสือที่ถูกเผยแพร่ในปี 2012 ซึ่งมีอายุมากกว่า 10 ปีแล้ว
ดังนั้นข้อมูลหลายๆอย่างอาจไม่ตรงต่อข้อมูลใหม่ๆที่ถูกค้นพบในภายหลังแต่หนังสือก็ถือเป็นหนึ่งในส่วนสำคัญที่ทำให้มุมมองการศึกษาชีวิตโลกยุคโบราณเปลี่ยนไปกลายเป็นการจุดชนวนความคิดสร้างสรรค์ใหม่ๆได้อีกมากมายและทำให้ย้อนกลับมาทบทวนถึงการสันนิษฐานรูปร่างหน้าตาของสัตว์ดึกดำบรรพ์ต่างๆว่ามันจะมีหน้าตาแบบที่บ้านออกมาจริงไหม
เป็นยังไงกันบ้างกับเรื่องที่ทางเราได้นำเสนอออกไป ใครที่ชอบหรือไม่ชอบยังไงสามารถแสดงความคิดเห็นไว้ได้เลยนะครับ สำหรับใครที่อยากจะดูเรื่องเกี่ยวกับอะไร สามารถบอกเข้ามาได้เลย สุดท้ายนี้อย่าลืมกดติดตาม พร้อมเหลา ไว้ด้วยนะครับ