5 งานวิจัยใหม่ ที่อาจทำให้ความเชื่อในโลกดึกดำบรรพ์ของคุณเปลี่ยนไป

5 งานวิจัยใหม่

5 งานวิจัยใหม่ ที่ทำให้โลกดึกดำบรรพ์เปลี่ยนไป

dunkleosteus ตัวเล็กลงเครื่องมืออาจไม่ได้ถูกคิดค้นโดยมนุษย์ ทีเร็กซ์ ฉลาดพอๆกับลิง นี่คือการค้นพบแรงงานวิจัยใหม่ที่อาจทำให้มุมมองของคุณต่อสัตว์ดึกดำบรรพ์เปลี่ยนไป dunkleosteus อาจไม่ได้ใหญ่อย่างที่คิดฟอสซิลที่ลงเหลือของ ดังเคิลออสเตียสทำให้มันเป็นปลาที่ทั้งโดดเด่นและน่าเกรงขาม มันเคยถูกประเมินไว้ว่าจะมีขนาดใหญ่ถึง 10 เมตร ทำให้เป็นปลาหุ้มเกราะที่ใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยมีมา ด้วยขนาดที่ใหญ่และหน้าตาที่น่ากลัวทำให้มันเป็นหนึ่งในปลาดึกดำบรรพ์ที่โด่งดังที่สุดของโลก แต่งานวิจัยที่ตีพิมพ์ในเดือนกุมภาพันธ์ปี 2023 เสนอว่ามันอาจไม่ได้ตัวใหญ่ขนาดนั้นงานวิจัยนี้เป็นของรัสเซลล์ เขาเสนอวิธีการวัดขนาดด้วยการเปรียบเทียบจากระยะห่างของตาและแผ่นปิดเหงือกซึ่งเรียกว่า orchestra เล้งหรือ oll ข้อเสนอว่าปลาที่มีลำตัวยาวมากมีส่วนหัวยาวสอดคล้องกัน ซึ่งดังเคิลออสเตียสมีส่วนหัวที่ดูค่อนข้างสั้น ดังนั้น

ขนาดใหม่ของดังเคิลออสเตียสทีเขาคำนวณจาก ool ของมันจึงน่าจะมีความยาวสูงสุดที่ 4.1 เมตร สั้นกว่าเดิมเกินครึ่ง ถึงแม้ว่าจะยังเป็นปลาขนาดใหญ่อยู่แต่ชาวเน็ตก็อดไม่ได้ที่จะสร้างเสียงหัวเราะจากเรื่องนี้ ความสัมพันธ์ของสไปโนซอรัสกับน้ำ ข้อมูลของสไปโนซอรัสเต็มไปด้วยข้อถกเถียงที่จอดแล้วจนรอดหรือยังสรุปไม่ได้สักที ครั้งนี้คืองานวิจัยที่เป็นกระแสพอสมควรและหลายๆคนอาจเคยได้เห็นกันไปแล้ว กับหัวข้อที่ว่าสไปโนซอรัสไม่ได้เป็นไดโนเสาร์น้ำปี 2022 มีงานวิจัยที่เสนอว่าสไปโนซอรัสที่มีหางขนาดใหญ่ ทำให้มันเป็นสัตว์ที่เคลื่อนไหวอย่างช้าบนบก แต่สามารถเคลื่อนที่ได้ระยะได้อย่างรวดเร็วไม่อยู่ใต้ผิวน้ำตามชายฝั่งคล้ายกับจระเข้ ในปีเดียวกันงานวิจัยจากสหรัฐอเมริกานำ

ประเมินความเป็นไปได้ของทฤษฎีของบาร์บี้และตัดสินว่า มันไม่ใช่ไดโนเสาร์ทางน้ำ พวกเขาเสนอว่าสไปโนซอรัสเมื่ออยู่บนบกจะเป็นสัตว์สองเท้า และมาอยู่ใต้น้ำจะกลายเป็นนักว่ายน้ำที่เชื่องช้าและมากอยู่บนผิวน้ำ งานวิจัยนี้ใช้วิธีการสร้างโมเดลขึ้นใหม่ด้วย CT Scan รวมกับการเสริมกล้ามเนื้อต่างๆประกอบกับข้อมูลการพบฟอสซิลของสไปโนซอรัสมักอยู่บนบกมากกว่า จึงสรุปว่าสไปโนซอรัสน่าจะเป็นไดโนเสาร์ semi aquatic รวมถึงหางอาจจะมีไว้เพื่อการโชว์มากกว่าการว่ายน้ำด้วย ในปีเดียวกันอย่างมีงานวิจัยที่โต้แย้งได้แบบนี้ อนาคตอาจมีทฤษฎีใหม่ๆของเจ้าสไปโนซอรัสมาหักล้างอีกแน่ๆ เสียงร้องของ ankylosaurus

หรือกล่องเสียงคืออวัยวะที่หาได้ยากและแทบจะไม่หลงเหลืออยู่ในซากฟอสซิล ทว่าในปี 2023 มีการพบซากตัวอย่างที่สมบูรณ์ของ ankylosaurus จากมองโกเลีย ซึ่งยังมีกล่องเสียงหลงเหลืออยู่ด้วย silicosis เป็นสายพันธุ์ของ ankylosaurus ไดโนเสาร์ที่มีลำตัวอ้วนกลมมีเกาะขนาดใหญ่บนหลังและมีส่วนปลายหางคล้ายลูกตุ้ม ความพิเศษของการค้นพบนี้คือนี่เป็นการพบกล่องเสียงในฟอสซิลของไดโนเสาร์ ที่ไม่ใช่เป็นครั้งแรกและเป็นฟอสซิลของเสียงที่เก่าแก่ที่สุดของไดโนเสาร์ด้วย ลักษณะของกล่องเสียงนี้มีกระดูกและ argan Oil ใกล้เคียงกับสัตว์เลื้อยคลานที่ไม่ใช่นก แต่ขณะเดียวกันก็มีข้อต่อที่แข็งแรงและมีโครงสร้างที่คล้ายคลึงกับที่พบในนก ลักษณะเหล่านี้บ่งบอกว่าพวกมันสามารถเปล่งเสียงดัง รวมถึงเป็นไปได้ว่าจะควบคุมเสียงได้เหมือนกับพี่นกทำ

ไม่แน่ว่าย้อนกลับไปในอดีตพวกมันอาจจะสามารถร้องเพลงด้วยก็เป็นได้ tyrannosaurus rex อาจฉลาดยิ่งกว่าเดิม ในอดีตที่มีการค้นพบทีเร็กซ์ในยุคแรกๆ มีความคิดที่เคยได้รับความนิยมว่าทีเร็กซ์เป็นสัตว์ที่ไม่ฉลาดนัก เพราะมันมีสมองขนาดเท่าถั่ววอลนัท ในความเป็นจริงสมองของมันมีขนาดพอๆกับมนุษย์ เพียงแค่มันมีกระโหลกที่ใหญ่ทำให้ดูเล็กมากเมื่อเทียบกับขนาดตัวที่พอๆกับรถบัส และงานวิจัยที่เผยแพร่เมื่อเดือนธันวาคมปี 2022 โดยนักกายวิภาคศาสตร์ suzana herschel เสนอว่าพวกมันอาจจะราคาพอๆกับลิงในปัจจุบัน เธอให้เหตุผลว่าข้อเสนอนี้มาจากการคำนวณจำนวนเซลล์ในสมอง เปรียบเทียบกับนกและสัตว์เลื้อยคลานในปัจจุบัน ก่อนจะนำไปคำนวณกับขนาดของทีเร็กซ์ ทำให้ได้ผลลัพธ์ที่ว่ามันมีเซลล์สมองจำนวนปกับลิงบาบูน

ผลลัพธ์นี้ยังทำให้เธอสรุปได้อีกว่าทีเร็กซ์ฉลาดพอที่จะสามารถสร้าง และใช้เครื่องมือแก้ปัญหาเบื้องต้น และมีอายุขายาวนานถึง 40 ปี มากพอที่จะสร้างวัฒนธรรมแบบง่ายๆได้เลย หากทั้งหมดเป็นจริงทีเร็กซ์จะกลายเป็นอสุรกายที่น่ากลัวยิ่งขึ้นกว่าเดิมอีกหลายเท่า แต่แนวคิดนี้ก็ไม่ได้รับการยอมรับซะทีเดียว ยังมีนักบรรพชีวินวิทยาอีกหลายคนที่ออกมาแย้งกับข้อเสนอนี้ ความฉลาดนั้นเป็นสิ่งที่วัดได้ยากและยิ่งยากขึ้นไปอีกหาตรงวัดสัตว์ที่สูญพันธุ์ไป จนเหลือเพียงแค่ผ้าห่มกระดูก แม้จะมีขนาดใหญ่แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าขนาดจะส่งผลโดยตรง 

ข้อมูลต่างๆสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตลอด งานวิจัยบางชิ้นประกาศไม่ได้ให้ผลลัพธ์ที่เหมาะสม หรือมาจากวิธีการที่ถูกต้อง ชุดความรู้ต่างๆจึงสามารถถูกต้องหรือหักหลังได้ ดังนั้น จึงไม่ควรยึดติดอยู่กับข้อมูลใดมากจนเกินไป และสนุกกับการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆที่ยังคงรอให้เราค้นหาอยู่เสมอ ติดตามเรื่องเล่าต่างๆได้ที่ พร้อมเหลา

ใส่ความเห็น