Deep Sea Gigantism หมายถึงปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่สัตว์ที่อาศัยอยู่ใต้ทะเลลึก โดยเฉพาะสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง มีขนาดที่ใหญ่โตมากกว่าปกติ จะมีอะไรบ้างนั้นมาดูกัน
Deep Sea Gigantism
ลึกลงไปในมหาสมุทรอันกว้างใหญ่ เต็มไปด้วยความลึกลับ และความน่าอัศจรรย์ของสิ่งมีชีวิตพร้อมกับปริศนาที่ยังต้องค้นหาคำตอบอยู่ อีกมากมายหนึ่งในนั้นคือคำถามที่ว่าทำไมน้ำลึก เป็นแหล่งกำเนิดของเหล่าสัตว์ขนาดยักษ์
หรือปรากฏการณ์ที่ถูกเรียกว่า Deep Sea หมายถึงปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ที่สัตว์อยู่อาศัยใต้ทะเลลึก โดยเฉพาะสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังมีขนาดที่ใหญ่โตมากกว่าปกติ ทั้งนี้ไม่ได้หมายความว่าสัตว์ทะเลลึก ทั้งหมดมีขนาดใหญ่กว่าสัตว์ที่อาศัยบนบก
แต่หมายถึงสัตว์ชนิดเดียวกันที่หากเทียบแล้ว มีขนาดที่ใหญ่โตกว่าอย่างชัดเจน เช่นสัตว์ตระกูลหมึก เป็นสัตว์ที่มีขนาดที่แตกต่างกันอย่างสุดขั้ว ขณะที่ตัวเล็กสุดมีขนาดเพียงไม่กี่เซนติเมตร และเบากว่า 1 กรัม
และหมึกที่พบได้ทั่วไปมักมีขนาดอยู่ที่ไม่เกิน 1 เมตร แต่ชนิดที่ใหญ่ที่สุดอย่าง Giant squid ที่อาศัยอยู่ในน้ำลึก กลับมีขนาดยาวได้มากกว่า 10 เมตร และหนักถึงขั้นต่ำแมงกะพรุนก็เป็นสัตว์อีกชนิดที่มีขนาดแตกต่างกันมาก โดยขนาดทั่วไปอยู่ที่เพียง 140 cm แต่ ไจแอนท์แฟนทอมเจอรี่ ที่อาศัยอยู่ที่ก้นทะเลสามารถโตจนมีความยาวรวมกำหนดแล้วกว่า 10 เมตร แม้จะไม่ใช่สปีชีส์ที่ใหญ่ที่สุดของแมงกะพรุนก็ตาม
psychotic หรือไจแอนท์คือสัตว์ที่มีลักษณะเป็นลูกบอลทรงกลม กึ่งโปร่งใส ที่มักเจอในความลึกตั้งแต่ 600 เมตรขึ้นไป พวกมันมีเส้นผ่านศูนย์กลางอยู่ที่ 3 เซนติเมตร แม้จะดูไม่ได้มีขนาดใหญ่มาก แต่ที่จริงแล้วพวกมันมีขนาดใหญ่กว่าปกติหลายเท่าตัว
เทียบกับศัตรูโดยทางการ อย่างเช่นแพลงก์ตอนที่มีขนาด เพียงไม่กี่มิลลิเมตรเท่านั้น ก่อนที่จะไปดูที่เหตุผล เราต้องย้อนดูกันก่อนว่าที่ทะเลลึกนี้ มีความแตกต่างกับแหล่งที่อยู่อาศัยทางธรรมชาติอื่นๆอย่างไรบ้าง
ใต้ทะเลลึกนับเป็นหนึ่งในสถานที่สุดอันตราย ต่อสิ่งมีชีวิตทั่วไปด้วยเหตุผลอย่างแรก คือในความลึกระดับหลายร้อยเมตรขึ้นไป มีสภาพแวดล้อมสุดตรงหลายอย่างเช่นอุณหภูมิที่ทั้งเย็นจัดและร้อนจัด ขณะที่น้ำในบริเวณต่อมน้ำร้อนใต้ทะเล หรือรอยแยกของผิวโลก นั้นมีอุณหภูมิสูงมากที่ 400 องศาเซลเซียส แต่ใต้ทะเลลึกโดยทั่วไปมีอุณหภูมิเฉลี่ยเพียง 4 องศาเซลเซียส
ซึ่งนอกจากจะเป็นสภาพที่หนาวจัดแล้ว น้ำเย็นยังมีความหนาแน่นมากกว่าน้ำอุ่น ส่งผลให้น้ำที่มีอุณหภูมิสูงกว่า ไหลขึ้นด้านบน ดังนั้นการที่ดำลึกลงไปมากเท่าไหร่ก็ยิ่งมีแรงดันน้ำที่มากขึ้นเท่านั้น
จากการที่มีปริมาณน้ำด้านบนกดลงมาด้านล่างมากขึ้น ซึ่งแรงดันน้ำส่งผลต่อแรงดันอากาศในร่างกายของสิ่งมีชีวิต อเมริกาเจ้าของสถิติโลกในการดำน้ำด้วยเครื่องประดาน้ำดำลึกลงไปถึง 330 เมตร
แม้เขาจะใช้เวลาอยู่ที่ระดับความลึกนั้นเพียง 12 นาที แต่ในการขึ้นมาที่ผิวน้ำเขาต้องใช้เวลาถึง 15 ชั่วโมง เพื่อให้อากาศในปอดค่อยๆกลับมาเป็นปกติ นอกจากนี้แสงต่างๆจากด้านบนยังไม่สามารถส่งลงไปได้มากกว่า 1000 เมตร
ทำให้ใต้ทะเลนั้นเป็นที่ ที่มืดสนิท ยากต่อการมองเห็ นด้วยสภาพแวดล้อมที่สุดโต่งสิ่งมีชีวิตต่างๆ จึงต้องปรับตัวเองเพื่อให้เหมาะสมต่อการเอาตัวรอดมากขึ้น หนึ่งในวิธีที่พวกมันใช้คือการขยายให้มีขนาดที่ใหญ่โตขึ้นกว่าปกติ
การปรับตัวที่เรียกว่า 24 gigantism ยังเป็นที่ถกเถียงกันว่าเกิดขึ้นเพราะเหตุผลใดกันแน่แต่โดยรวมมีทฤษฎีที่เป็นไปได้อยู่หลายอย่างด้วยกันทฤษฎีแลก กับกฎของคราเมอร์ ที่ได้อธิบายไว้ว่ายิงสัตว์มีขนาดที่ใหญ่ขึ้น การเผาผลาญอาหารก็จะยิ่งมีประสิทธิภาพมากขึ้น
จึงเป็นผลให้พวกมันมีขนาดที่ใหญ่ขึ้น ไอโซพอดสัตว์ที่อยู่ในพวกเดียวกับกุ้งกั้ง และปู่ไอโซพอด ที่เรามักจะเห็นกัน มีขนาดเล็กเพียง 1 เซนติเมตร แต่ลึกลงไปใต้ทะเล มีเหล่าไจแอนท์ไอโซพอด ซึ่งมีขนาดใหญ่กว่าญาติบนบกหลายเท่า
พวกมันแบ่งกันเป็นกลุ่มไจแอนท์ที่มีขนาดตั้งแต่ 8 ถึง 15 cm และพวก Super Giant กับขนาด 17-50 cm อาหารขาดแคลนเมื่อไหร่ก็ตาม มันมีโอกาสจะกินอย่างตะกละตะกลามเพื่อการเก็บอาหารเอาไว้ในร่างกายให้ได้มากที่สุด
หนึ่งในตัวอย่างที่ถูกเก็บรักษาไว้สามารถอยู่รอดได้ถึง 5 ปี โดยไม่กินอะไรเลยเพราะมันมีการเผาผลาญที่ช้ามากนอกจากนี้ขนาดที่ใหญ่ ก็ช่วยให้ว่ายน้ำ หาอาหารได้ไกลขึ้น และสามารถกินอาหารได้มากขึ้นด้วย
สัตว์ที่ใหญ่ที่สุดเท่าที่โลกรู้จัก วาฬสีน้ำเงิน ก็เป็นสัตว์น้ำลึกเช่นกัน พวกมันหนักได้กว่า 100 ตัน กับขนาดตั้งแต่ 21 ถึง 24 เมตร และขนาดใหญ่ที่สุดที่วัดได้ คือเกือบ 30 เมตรพวกมันใช้ชีวิตส่วนใหญ่ ในน้ำลึก โดยอาหารของพวกมันคือแพลงตอนและสัตว์ตัวเล็กๆ
ด้วยขนาดที่ใหญ่ ทำให้อัตราการสูญเสียพลังงานต่อพื้นที่ร่างกายนั้นต่ำกว่าสัตว์ตัวเล็ก มีพลังงานต้องใช้อย่างจำกัด สัตว์ที่มีการเผาผลาญประสิทธิภาพสูง ก็มีโอกาสในการอยู่รอดมากกว่า ทฤษฎีถัดมาถูกอธิบายด้วยกฎของเบิร์กแมน
เมื่ออุณหภูมิที่ต่ำทำให้สัตว์มีขนาดใหญ่ขึ้น มีตัวอย่างหลายสปีชีส์ไม่ใช่แค่ในน้ำลึกเท่านั้นแต่ยังรวมถึงสัตว์บก หรือแม้กระทั่งมนุษย์ สัตว์ต่างๆที่อยู่ในเขตหนาวกว่าจะมีเซลล์ขนาดใหญ่และอายุขัยยืนยาวขึ้น
ถึงทำให้การเผาผลาญและการเคลื่อนไหวช้าลงซึ่งส่งผลให้มีขนาดใหญ่จากการมีแหล่งพลังงานคงเหลือมากกว่า ตัวอย่างที่ชัดเจนคือแมงมุมทะเล ซึ่งนอกจากจะใหญ่กว่ามาตรฐานของมันอย่างแมงมุมแล้ว พวกมันยังมีขนาดใหญ่ขึ้นในบริเวณใกล้กับขั้วโลกเหนือด้วย
โดยมันสามารถมีขายาวออกไปได้ถึง 50 cm แต่ถึงอย่างนั้นกฏนี้ก็ใช้ไม่ได้กับสัตว์ทุกชนิดเช่น หนอนท่อยักษ์ ในสปีชีส์ที่อาศัยอยู่ใกล้กับโป่งน้ำร้อนใต้ทะเล มีขนาดที่ใหญ่กว่าสปีชีส์ที่อยู่ในเขตน้ำเย็น แม้ในบริเวณอุณหภูมิสูงจะมีอายุขัยที่สั้นกว่าคือแค่ 2 ปี
เทียบกับ 250 ปีของสปีชีส์เขตน้ำเย็น นอกจากนี้ยังมีเหตุผลประกอบอื่นๆอีกหลายอย่างเช่น แรงดันน้ำที่มากขึ้น จะสามารถมีชีวิตอยู่ได้ แต่เพื่อให้ทนต่อแรงดันได้ดีขึ้น พวกมันจึงต้องมีขนาดที่ใหญ่ เพื่อรองรับแรงกดได้ดีขึ้น
หรือการที่สัตว์อย่างไจแอนท์แฟนทอมเจอรี่ big tits มีขนาดของหนวดยาวหลายเมตรที่น่าจะมีเพื่อให้สามารถดักจับเหยื่อได้ง่ายขึ้น ในสภาพแวดล้อมที่อาหารขาดแคลน และแสงน้อย ยากต่อการมองเห็น รวมถึงในสภาพแวดล้อมที่จำกัดทำให้สัตว์บางชนิดมีการแข่งขันที่น้อยลง เช่น หมึกยักษ์ที่สามารถตัวใหญ่ได้ถึง 10 เมตร
มันไม่ต้องแข่งขันกับนักล่าอื่นๆ โดยมีเพียงวาฬสเปิร์มที่เป็นศัตรูทางธรรมชาติเท่านั้นเหตุผลและทฤษฎีเหล่านี้ ต่างมีส่วนช่วยให้ชีวิตที่ก้นทะเลต้องปรับตัว เกิดเป็นสัตว์ขนาดยักษ์ ที่ดิ้นรนเอาตัวรอดในสภาพแวดล้อม ที่ลึกลับและอันตรายให้ได้นั่นเอง
ปรากฏการณ์ จากการดูดซึมยังเป็นหนึ่งในปริศนาจากโลกใต้น้ำ ที่ยังไม่มีคำตอบที่ชัดเจนการค้นหาคำตอบว่าสัตว์ต่างๆ ตั้งแต่หมึกยักษ์แมงกะพรุนขนาดมหึมา ไปจนถึงวันนั้นทำไมพวกมันถึงใหญ่โตขนาดนี้ได้
ยังคงเป็นสิ่งที่ท้าทายสำหรับนักวิทยาศาสตร์เสมอ พวกมันไม่ใช่แค่น่าเชื่อและน่าหลงไหลก็ยังเป็นส่วนสำคัญยิ่งของระบบนิเวศใต้น้ำการศึกษาสภาพแวดล้อมเหล่านี้เพื่อให้เข้าใจโลกใต้ทะเลอันกว้างใหญ่ที่ยังมีปริศนาและความลึกลับเฝ้ารอให้เราได้ค้นหากันต่อไป
เป็นยังไงกันบ้างกับเรื่องที่ทางเราได้นำเสนอออกไป ใครที่ชอบหรือไม่ชอบยังไงสามารถแสดงความคิดเห็นไว้ได้เลยนะครับ สำหรับใครที่อยากจะดูเรื่องเกี่ยวกับอะไร สามารถบอกเข้ามาได้เลย สุดท้ายนี้อย่าลืมกดติดตาม พร้อมเหลา ไว้ด้วยนะครับ