Stegosaurus ไดโนเสาร์กินพืชที่มาพร้อมกับแผ่นหลังโดดเด่นอันเป็นปริศนา นั่นก็เพราะว่า ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ก็ยังไม่เคยมีใครสรุปได้ว่า แผ่นหลังเหล่านั้น มีไว้ทำอะไรกันแน่!
Stegosaurus กับแผ่นหลังที่ยังเป็นปริศนา
Stegosaurus ไดโนเสาร์กินพืชที่มาพร้อมกับแผ่นหลังอันโดดเด่นที่เป็นปริศนา ที่ยังไม่เคยมีใครสรุปได้ว่าแผ่นหลังเรานั้นมีไว้ทำอะไรกันแน่ ในบรรดาไดโนเสาร์เราอาจจะเคยเห็นว่ามีหลายตัวที่มีลักษณะโดดเด่นอยู่บนแผ่นหลังเช่น azureus spinosaurus proservice และตัวที่เราจะพูดถึงต่อไปนี้ก็เช่นกัน พวกมันเป็นไดโนเสาร์ที่มีชื่อเสียงแบบแผ่นกระดูกทรงสามเหลี่ยมสุดเท่มาด้วย Stegosaurus ไดโนเสาร์ที่มีชีวิตอยู่เมื่อประมาณ 155 ถึง 145 ล้านปีก่อนซึ่งตรงกับตอนปลายของยุคจูราสสิค มันเป็นไดโนเสาร์กินพืชประเภท chaiyaphum ซึ่งเป็นตัวที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มสเตโกซอรัสขนาดตัวของสเตโกซอรัสวัดความยาวจากจมูกถึงหางจะได้ความยาวประมาณ 9 เมตร
ถึงแม้จะดูตัวใหญ่แต่มันก็ไม่ได้ตัวใหญ่เกินกว่าสรุปเพื่อนไดโนเสาร์กินพืชที่อาศัยอยู่ในช่วงเวลาเดียวกัน แผ่นบนหลังของมันสามารถเปลี่ยนสีได้เช่นจากผิวดั้งเดิมของมันซึ่งเป็นสีโทนแดงส้มเปลี่ยนเป็นสีแดงเข้มหรือสีชมพู นั่นเพราะสิ่งเหล่านี้ถูกปกคลุมด้วยเยื่อบางๆของผิวหนังนั่นเอง ในการค้นพบครั้งแรก Almond ผู้ที่ตั้งชื่อให้กับสัตว์กินพืชชนิดนี้เขาไม่ได้คิดว่าแผ่นหลังแหลมจำนวนมากที่เห็นจะเรียงกันเป็นแนวตั้งเหมือนกับที่เราเห็นกันทุกวันนี้ แต่เขากลับเรียงกันเป็นเหมือนกันดอกของเต่า และเหตุนี้เองทำให้เขาตั้งชื่อมันว่า stegosaurus ซึ่งแปลว่าจากการที่เข้าใจว่าต้องเรียงแผ่นแหลมเหล่านั้นเป็นแนวนอนนั่นเอง จนกระทั่งเทคโนโลยีเจริญก้าวหน้ามากขึ้นทำให้เขาได้ทำความเข้าใจไหมว่า แผ่นแหลมเหล่านั้นควรจะถูกเรียงใหม่ให้อยู่ในแนวตั้งแบบที่ปลายแหลมต้องชี้ขึ้นฟ้า
แต่เรื่องแผ่นแหลมนี้ก็ยังไม่จบถึงแม้ว่าแผ่นจะถูกเรียงกันเป็นแนวตั้งแล้ว แต่ผู้เชี่ยวชาญในยุคแรกในเรื่องแผ่นเหล่านี้แบบเป็นคู่กันไป ก่อนที่จะมาเรียนกันแบบสลับฟันปลาก็เห็นแล้วว่าการเรียงสลับฟันปลาแบบนี้จะช่วยไม่ให้แสงลอดผ่านได้ง่าย แล้วถ้าอย่างนั้นการที่ Stegosaurus มีแผ่นแหลมที่เรียงแบบสลับฟันปลานี้จะช่วยแค่ไหนเรื่องบดบังแสงแดดอีกเท่านั้นหรือ แม้แต่ผู้เชี่ยวชาญเองก็ยังสงสัยในประโยชน์ของเจ้าแผ่นแหลมนี้เหมือนกัน พวกเขาพยายามหาคำตอบโดยตั้งสมมติฐานหลายๆอย่าง ไม่ว่าจะเป็น สมมติฐานแรกคือแผ่นแรมเหล่านี้น่าจะถูกใช้เพื่อปกป้องตัวเองจากศัตรู เพราะการมีแผ่นแหลมบนหลังยิ่งทำให้เซ็กส์ดูตัวใหญ่ขึ้นน่าเกรงขามขึ้นจนบางทีนักล่าตัวอื่นอาจจะไม่อยากเข้ามายุ่ง
สมมติฐานข้อต่อมาก็คือแผนเหล่านี้อาจถูกใช้ในการดึงดูดคู่ครองเพราะเป็นเครื่องแสดงความสวยงามของ Stegosaurus สมมติฐานที่ 3 เหล่านี้อาจจะถูกใช้เพื่อควบคุมอุณหภูมิในร่างกายให้อยู่ในจุดที่สมดุลกัน ความเป็นไปได้ข้อที่ 4 ใกล้ๆกับข้อแรกคือแผ่นแหลมเหล่านี้ใช้ข่มขู่คู่ต่อสู้ได้ โดยเมื่อถึงเวลาเผชิญหน้าแผ่นนี้จะโน้มเอียงไปทางศัตรู เป็นสัญญาณเตือนว่าอย่าเข้ามายุ่งกับพวกมันจะดีกว่า หรือการที่แผ่นเหล่านี้สามารถเปลี่ยนสีได้อาจจะช่วยในการเตือนกันเอง เวลาอันตรายเข้ามาใกล้หรือบอกให้รู้ว่ามันกำลังอยู่ในช่วงพร้อมผสมพันธุ์ ท้ายที่สุดก็ยังไม่มีผู้เชี่ยวชาญคนไหนสามารถพิสูจน์ได้ว่าประโยชน์ที่แท้จริงของแผ่นเหล่านี้คืออะไรกันแน่ ถึงแม้ว่า stegosaurus จะมีขนาดลำตัวค่อนข้างใหญ่แต่เชื่อหรือไม่ครับว่าสมองของStegosaurus นั้นมีขนาดเล็ก ดังนั้น ผู้เชี่ยวชาญจึงสันนิษฐานว่าพวกมันไม่น่าจะมีพฤติกรรมที่ซับซ้อนมากนัก
แค่หาพืชพันธุ์ธัญญาหารกินและเอาตัวรอดไปในแต่ละวันก็เพียงพอแล้ว แถมมันมีขาและหางยาวจะช่วยในการเอาชีวิตรอดได้ ที่รู้ได้อย่างนั้นก็เพราะว่าเมื่อผู้เชี่ยวชาญได้ลองประกอบฟอสซิลจนเสร็จแล้ว พวกเขาก็พบว่าสเตโกซอรัสสามารถกินหญ้าที่อยู่ต่างๆได้สบายๆ เพราะพวกมันมีขาหน้าที่สั้นและก็มีหางที่ยาวมากจากการสังเกตกระดูกสันหลังของพวกมันซึ่งมีลักษณะโค้งและเรียวยาว ผู้เชี่ยวชาญจึงสันนิษฐานว่าสเตโกซอรัสสามารถใช้หางกวักแขวนขึ้นบนอากาศได้ จึงช่วยในการพยุงตัวทำให้เวลาก้มกินอาหารของพวกมันไม่ล้มหน้าคะมำจิ้มดิน นอกจากนี้แรงคงค้างที่ตวัดไปมานั้นรุนแรงมากจนสามารถทำให้เกิดบาดแผลบนตัวศัตรูได้ อย่างที่เคยมีการพบร่องรอยบนตัวของอัลโลซอรัสซึ่งเป็นรอยขนาดพอดีกับหางของ Stegosaurus การขุดค้นพบฟอสซิลที่สมบูรณ์ที่สุดของสเตโกซอรัสเกิดขึ้นเมื่อปี 2003 ซึ่งฟอสซิลดังกล่าวมีความสมบูรณ์ถึง 85 เปอร์เซ็นต์
เรียกว่าเป็นเปอร์เซ็นต์มากกว่าที่เคยมีมาแม้แต่กระดูกสันหลังก็พบมากถึง 19 แผ่น ฟอสซิลนี้มีอายุประมาณ 150 ล้านปี ค้นพบโดยไซม่อนก่อนจะถูกย้ายมาจัดแสดงอยู่ที่ Natural history Museum และถูกตั้งชื่อในภายหลังว่าโซฟี โดยเมื่อประกอบฟอสซิลออกมาแล้ว ก็มีความยาวเกือบ 6 เมตรและสูงเกือบ 3 เมตร แต่ก็ไม่ได้ตัวใหญ่มากถือว่าเป็นตัวที่มีขนาดปานกลาง ถึงตามความเข้าใจที่มีมาแต่เดิมคือสเตโกซอรัสอยู่ในแถบอเมริกาตะวันตกและโปรตุเกสเป็นส่วนใหญ่ แต่ล่าสุดเมื่อปี 2019 จากได้มีการพบฟอสซิลของสเตโกซอรัสประเทศโมร็อคโคบริเวณเทือกเขาแอตลาสซึ่งอยู่ในแอฟริกาเหนือ โดยฟอสซิลดังกล่าวเป็นศูนย์กระดูกต้นแขนและกระดูกสันหลัง และคาดว่าน่าจะเป็น stegosaurus ที่เก่าแก่ที่สุดเท่าที่เคยมีการค้นพบมาด้วยอายุกว่า 160 ล้านปี ซึ่งเป็นช่วงกลางยุคจูราสสิก
ก็จบกันไปแล้วนะครับผมเรื่อง Stegosaurus เพื่อนๆมีความคิดเห็นอย่างไรกันบ้าง หรือว่าข้อมูลของเราผิดพลาดตรงไหน เพื่อนๆสามารถติชมและพิมพ์ทิ้งไว้ในช่อง comment ได้เลยนะครับ ยังไงก็ฝากกดไลค์กดแชร์กด Subscribe ให้กับช่อง พร้อมเหลา ไว้ด้วยเพื่อเราจะได้มีกำลังใจในการทำคลิปต่อๆไปมาให้เพื่อนๆได้รับชมกัน