สัตว์ที่ทำให้ระบบนิเวศเสีย มี 11 ชนิดด้วยกัน จะมีสัตว์ตัวไหนไปดูกัน

สัตว์ที่กลายเป็นตัวร้ายในระบบนิเวศเสีย

สัตว์ที่ทำให้ระบบนิเวศเสีย โลกของเรามีสัตว์มากมายหลายชนิด แต่ละชนิดก็ต่างพึ่งพาสิ่งแวดล้อมด้วยกันทั้งนั้น ไม่ว่าจะด้านใดด้านหนึ่ง และสัตว์อีกจำนวนไม่น้อย ที่รบกวนระบบนิเวศเพื่อให้พวกมันมีชีวิตรอด และขยายพันธุ์ได้ต่อไป

สัตว์ที่ทำให้ระบบนิเวศเสีย มี 11 ชนิด

บนโลกของเรามีสิ่งมีชีวิตมากมายที่ส่งผลดีต่อสิ่งแวดล้อม เช่น ไส้เดือนที่ช่วยพรวนดินให้ร่วนซุย นกที่ช่วยกำจัดแมลงอันเป็นศัตรูของพืชและ บีเวอร์ ช่วยขุดดินสร้างแหล่งน้ำของพวกมันและช่วยให้ดินและพืชพรรณบริเวณนั้นอุดมสมบูรณ์มากขึ้น บางชนิดก็จะส่งผลเสียต่อระบบนิเวศน์ของเราด้วยเช่นกัน โลกของเรามีสัตว์มากมายหลายชนิดแต่ละชนิดก็ต้องพึ่งพาสิ่งแวดล้อมกันทั้งนั้น ไม่ว่าจะด้านใดด้านหนึ่งและสัตว์อีกจำนวนไม่น้อยที่รบกวนระบบนิเวศ เพื่อให้พวกมันมีชีวิตรอดและขยายพันธุ์ได้ต่อไป เราจะพูดถึงกันในคลิปนี้เป็นเรื่องของสัตว์ที่ทำอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม ไม่ว่าจะเป็นที่อยู่อาศัยสัตว์ชนิดอื่นๆหรือบางครั้งก็ส่งผลถึงมนุษย์ด้วยเหมือนกัน ส่วนใหญ่แล้วสัตว์ที่ทำลายระบบนิเวศคือสัตว์ที่เป็น invasive species หรือสปีชีส์ที่เราไม่สามารถทราบถิ่นกำเนิดของมันได้ แต่เป็นสปีชีส์ที่สร้างความเสียหายทางสิ่งแวดล้อมและเศรษฐกิจในพื้นที่ที่มันไปอยู่อาศัย และต่อไปนี้จะขอยกตัวอย่างสัตว์ที่มีพฤติกรรมทำลายระบบนิเวศ 11 ชนิด จะมีอะไรบ้างนั้นเรามาเริ่มกันที่สัตว์น้ำก่อนเลยดีกว่า 

ปลาซัคเกอร์ปลาที่เราคุ้นเคยกันพวกมันเป็นปลาที่มีความยาวลำตัวประมาณ 15 ถึง 20 เซนติเมตร แต่ตัวที่ใหญ่ที่สุดสามารถยาวได้ถึง 50 เซนติเมตร ปกติแล้วเราอาจจะรู้กันบ้างว่าปลาซัคเกอร์เป็นปลาที่ช่วยดูดซับสิ่งสกปรกทำให้แหล่งน้ำสะอาดขึ้น ถูกต้องครับนั่นคือข้อดีของปลาซัคเกอร์ และข้อเสียของมันนั้นก็คือมันจะแย่งอาหารของปลาตัวอื่นในพื้นที่เดียวกัน อาหารของพวกมันในที่นี้คือรวมถึงไข่ของปลาชนิดอื่นๆด้วย ทำให้พวกมันเป็นใหญ่และครอบครองพื้นน้ำได้อย่างไม่ยาก แต่การที่จะกำจัดพวกมันนั้นเป็นเรื่องที่ค่อนข้างยากเลยทีเดียว เพราะนอกจากจะแพร่พันธุ์ได้อย่างรวดเร็วแล้วยังชอบอาศัยอยู่ก้นน้ำทำให้หว่านแหไปไม่ถึงนั่นเอง 
 
 
ปลาสิงโต lionFish เป็นปลาที่มีแผลผ่านอย่างรวดเร็วในแนวปะการังทางชายฝั่งตะวันออกของอเมริกา จากเดิมที่พวกมันเป็นปลาที่มีถิ่นกำเนิดอยู่แถบ indo-pacific แล้วพอมันแพร่กระจายมาทางอเมริกาทำให้ปลาสิงโตกลายเป็นปลาหน้าใหม่ในถิ่นนั้น และไม่ค่อยจะมีนะกล้าเข้ามาใกล้เท่าไหร่นัก อีกทั้งพวกมันมักจะกินปลาที่เป็นปลาเศรษฐกิจของบริเวณนั้น เช่นปลาเก๋าและปลากระพงเป็นต้น และอย่างที่บอกว่าพวกมันสามารถแพรวได้อย่างรวดเร็ว ทำให้ยิ่งยากที่จะกำจัดพวกมันให้น้อยลง โดยการมีชีวิตอยู่ของพวกมันส่งผลต่อปลาชนิดอื่นๆและระบบนิเวศในแถบมหาสมุทรแอตแลนติกให้น้อยที่สุด 
 
 
ปลาคาร์พหัวโต เป็นปลาที่มีถิ่นกำเนิดอยู่ในทะเลสาบและแม่น้ำของรัสเซียรวมถึงจีนด้วย โดยปลาคาร์พหัวโตนั้นมีขนาดลำตัวอยู่ที่ประมาณ 1.5 เมตรกินสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังตัวเล็กๆซากสัตว์ ในช่วงปี 1990 เกิดเหตุการณ์ปลาคาร์พหัวโตหลุดออกจากฟาร์มปลาในรัฐอาร์คันซอของอเมริกา ที่เลี้ยงพวกมันไว้เพื่อบำบัดน้ำเสียหลังจากนั้นพวกมันกลับแพร่กระจายไปทั่วแม่น้ำมิสซูรีในอเมริกาเหนือ กลายเป็นว่าพวกมันไปแย่งอาหารของปลาท้องถิ่นในแม่น้ำนั้น
 
สัตว์ 3 ชนิดที่กล่าวมานั้นเป็นสัตว์ทำลายระบบนิเวศที่เป็นสัตว์น้ำแล้วก็เป็นสัตว์บกจะมีอะไรบ้าง
 
  •  แพะป่า เป็นสัตว์ที่กินหญ้าเยอะมากๆจนสามารถทำให้ทุ่งหญ้าที่เขียวขจี แห่งแรงเหมือนทะเลทรายได้ภายในเวลาอันรวดเร็ว 
  • คางคก เมื่อไม่นานมานี้มีการพบคางคกยักษ์ที่มีขนาดใหญ่มากๆสัตว์ป่าได้ตั้งชื่อคางคกตัวนี้เล่นๆว่าโถซิลล่า
  • หนู ก็เป็นสัตว์ขี่รบกวนระบบนิเวศเหมือนกันนั่นก็เพราะหนูเป็นสัตว์ที่ปรับตัวเก่งมากๆในทุกๆสภาพแวดล้อม
  • กวางหางขาว เป็นกวางที่อาศัยอยู่ทางตะวันออกของอเมริกา มันเป็นสัตว์ที่กินพืชเยอะมากๆ
  • ช้าง โดยธรรมชาติแล้วเวลาช้างจะกินอาหารในป่าพวกมันจะกินเยอะมากๆประมาณ 450 กิโลกรัมต่อวัน
  • ตั๊กแตนขาสั้น ถึงจะเป็นแมลงตัวเล็กขนาดประมาณ 0.5 ถึง 3 นิ้วแต่ก็เป็นแมลงหวี่อันตรายที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

ยังมีสัตว์อีกหลายชนิดที่มีพฤติกรรมที่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม และเพื่อนด้วยกันแต่ท้ายที่สุดสิ่งที่พวกมันทำอาจเทียบไม่ได้เลย กับตัวการในหลายปัญหาอย่างมนุษย์เรานี้ ที่เรียกว่าเอารัดเอาเปรียบธรรมชาติมากที่สุด เพียงแค่สัตว์ที่เราได้พูดถึงกันนี้มันอาจจะมีแค่สัญชาตญาณการเอาชีวิตรอด แต่มนุษย์ยังสามารถทดแทนบางสิ่งที่พวกเขาทำลายไปได้ก็เท่านั้น

 

ก็จบไปแล้วนะครับสำหรับเรื่องสัตว์ทีทำร้ายระบบนิเวศ เพื่อนๆมีความคิดเห็นอย่างไรกันบ้าง หรือข้อมูลของเราผิดพลาดตรงไหน เพื่อนๆสามารถติชมหรือ comment ทิ้งไว้ได้เลยนะครับผม ยังไงก็ฝากกดไลค์กดแชร์กด Subscribe ให้ช่อง พร้อมเหลา ให้ด้วยเพื่อเราจะได้มีกำลังใจในการทำคลิปต่อไปให้เป็นเพื่อนได้รับชมกัน

ใส่ความเห็น